ครบเครื่อง เรื่องPE
วิธีคำนวณ ก็ เอาราคาหุ้น (price) หารด้วย กำไรต่อหุ้น(earning per share) ค่าที่ได้ก็จะออกมาว่าเป็นจำนวนกี่เท่าซึ่งค่านี้บอกว่าต้องใช้เวลากี่ปีถึงจะคุ้มทุน
กำไรต่อหุ้น คำนวณจาก กำไรหลังหักภาษี หารด้วย จำนวนหุ้น
แม้ว่าค่านี้จะอาศัยข้อมูลในอดีตมาคิด แต่ PE ก็สามารถใช้ forecast EPS มาคิดได้ ซึงก็มีประโยชน์อย่างมากในการคำนวณ valuation
เวลาดู PE ต้องดู 2 อย่างควบคู่กันไป
1. growth of earning
2. quality of earning
การที่ดูอะไรอย่างเดียว อาจทำให้คำนวณผิดได้ ต้องดูด้วยว่า growth ที่ได้มา มาจากอะไร ไม่ได้มาจากกำไรพิเศษ ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว
ปกติ PE ต่ำๆ จะน่าสนใจกว่า PE สูงๆ แต่ก็ไม่เสมอไป มีหลายสถานะการณ์ที่ PE ต่ำๆ แต่ไม่ได้หมายความว่า หุ้นน่าสนใจหรือหุ้นถูก
สถานะการณ์ที่ทำให้ PE ต่ำ แต่ไม่น่าสนใจ เช่น
1. uncertainly over a company's prospects for earning
2. a highly cyclical sector
3. company serving volatile markets
4. a sector with overcapacity and weak pricing power
5. a sector or company with consistently low returns and not adding economic value
6. a mature sector, with little prospect of growth
7. a company which is ex growth
8. poor management
9. poor cash generation
9. week balance sheet
ในทางกลับกัน หุ้นที่มี PE สูง ก็ไม่ได้หมายความว่าหุ้นมีราคาแพงเสมอไป
สถานการณ์ที่ทำให้ PE สูง แต่ไมได้หมายความว่าหุ้นแพง
1. companies with an excellent growth record and prospects for growth
2. a high-growth sector
3. high confidence in the company's forecasts
4. predictable/stable revenues
5. strong market shares
6. high barriers to entry
7. companies that have strong pricing power
8. companies that have high margins and produce excellent ROCE and add value
9. strong cash generation
Re-ratings and de-ratings
เมื่อคุณหาหุ้นที่มี PE ต่ำๆได้ ถ้าบริษัทนี้ดูแล้วน่าจะดีกว่า rating ที่มีอยู่ตอนนี้ คุณก็อาจจะปรับ rating ใหม่ขึ้นไปได้เรียกว่า re-ratings เช่นบริษัทตอนนี้มี PE อยู่ เท่ากับ 8 แต่คุณคิดว่าบริษัทนี้ PE น่าจะอยู่ ที่ 10 ก็แสดงว่าราคาหุ้นยังสามารถ upside ได้อีก 25%
แต่คุณก็ต้องมั่นใจในการประเมินของคุณนะครับ
ปัจจัยที่กระตุ้นทำให้เกิด re-ratings ก็คือผลการดำเนินงานเป็นไปตามที่คาดหวังหรือมากกว่าที่คาดหวัง
เช่นเดียวกัน de-ratings ก็คือการปรับ rating ให้ต่ำลงมาเนื่องจากคิดว่า PE ของบริษัทน่าจะต่ำกว่าที่เป็นอยู่ตอนนี้
ข้อดีข้อเสียของ การใช้ PE
ข้อดี ของการใช้ PE
1. ง่ายต่อการคำนวณ
2. ใช้กันอย่างแพร่หลาย
3. สามารถใช้ forecast มาคำนวณได้
4. earning เป็นค่าที่วัดในส่วนของผู้ถือหุ้น
ข้อเสียหรือข้อควรระวัง ของการใช้ PE
1. ไม่ได้นำ หนี้มาคำนวณ
2. gearing up/ หรือการซื้อหุ้นคืน ทำให้ earning สูง ทำให้ ตกแต่งค่า PE ได้
3. การนำมาเปรียบเทียบต้องระวัง นโยบายทางบัญชีของบริษัทหรือประเทศที่ต่างกัน
4. ไม่สามารถนำมาใช้ในพวก loss-making early-stage growth หรือ cyclical business
5. ไม่ได้นำ cash generation มาคำนวณ
6. ไมได้นำ investment returns มาคำนวณ
PE relative
คือนำค่า PE ของบริษัทมาเที่ยบกับ PE ของตลาด
เช่น PE ตลาดเท่ากับ 20 PE บริษัทเท่ากับ 15 ก็แสดงว่ามี relative = 75%
แต่ถ้า PE บริษัท เท่ากับ 30 แสดงว่ามี relative = 150%
บริษัทที่มี relative มากกว่า 100 มักจะเป็นบริษัทที่ถูกคิดว่าน่าจะมี growth และ quality ที่ดีกว่า ตลาดโดยรวม
ข้อดีข้อเสีย ของ PE relative ก็เหมือนกับ PE
from http://www.thaivi.com/webboard/viewtopic.php?t=3797
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น