อุปกรณ์การเล่น ได้แก่ กระดานและตัวหมาก
กระดาน เป็นวัสดุพื้นเรียบ รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส แบ่งแต่ละด้านออกเป็นเ 8 ช่องเท่ากัน จะได้ตารางย่อย 64 รูป เรียกสี่เหลี่ยมย่อยแต่ละรูปว่า ตา หรือ ช่อง กำหนดเป็นตาสีเข้ม 32 ตาและตาสีอ่อน 32 สลับกันโดยให้ตามุมซ้ายด้านบนของผู้เล่นเป็นตาสีอ่อน ตาที่ใช้เดินจะใช้เฉพาะตาสีเข้มรวม 32 ตา ในที่นี้จะกำหนดตำแหน่งของแต่ละตาด้วยเลขจำนวนนับ เพื่อให้ทราบว่ากล่าวถึงตาใดในกระดาน โดยเริ่มจากตาสีเข้มบนซ้ายสุดเป็น เลข 1ตาสีเข้มถัดมาในแนวนอนเป็นตา 2 และในแนวนอนถัดไปเป็นตา 3 และ 4 ตามลำดับ จากนั้นในแถวต่อมาเริ่มตาสีเข้มซ้ายมือสุดเป็นตา 5 เรียงลำดับไปเรื่อย ๆ จนถึงแถวที่ 8 ตาสีเข้มขวามือล่างสุด จะเป็นตา 32
ตัวหมาก เมื่อเริ่มต้น ทั้ง 2 ฝ่ายจะมีหมากฝ่ายละ 8 ตัว ในที่นี้กำหนดให้เป็นฝ่ายขาวและแดง และตั้งกระดานโดยให้ตัวหมากของผู้เล่นอยู่บนสองแถวแรกที่ใกล้ตัวผู้เล่นฝ่ายนั้น
การดำเนินเกม
1. ผู้เล่นหมากสีดำ อยู่ด้านเลขน้อย เป็นฝ่ายเดินหมากก่อน
2. ทั้ง 2 ฝ่ายสลับกันเดินจนกว่าการเล่นจะสิ้นสุด
3. การเดินหมาก
3.1 ตัวหมากของแต่ละฝ่ายเมื่อเริ่มเล่นเรียกว่า เบี้ย
3.2 เบี้ยจะเดินได้ครั้งละ 1 ตา ในลักษณะเฉียงไปด้านหน้า เว้นแต่จะมีหมากตัวอื่นขวางทาง หรือเมื่อไปชนริมกระดาน
3.3 หากเบี้ยเดินไปจนถึงแถวที่ 8 นับจากตัวผู้เล่น ตัวเบี้ยจะเปลี่ยนเป็นฮอส (เรียกว่า เข้าฮอส) แสดงให้เห็นว่าแตกต่างจากเบี้ย โดยใช้เบี้ยสีเดียวกันวางซ้อนเบี้ยตัวที่เข้าฮอสอีก 1 ตัว
3.4 ฮอสจะเดินกี่ตาก็ได้ในแนวเฉียง ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
3.5 หากในการเดินของเบี้ยหรือฮอส มีหมากของฝ่ายตรงข้ามวางอยู่บนตาเดิน และมีตาว่างอยู่ตาถัดไปในแนวเดียวกัน เบี้ยหรือฮอสของฝ่ายที่เดิน สามารถเดินข้ามหมากฝ่ายตรงข้ามและยกหมากตัวนั้นออกจากกระดานไป และเรียกการเดินในลักษณะนี้ว่าการกิน
3.6 การกินสามารถทำได้อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ หากเมื่อกินหมากของคู่ต่อสู้แล้ว มีหมากตัวอื่นของอีกฝ่ายหนึ่งวางอยู่บนตากิน เบี้ยหรือฮอสนั้น สามารถกินต่อได้อีก เรียกว่าเป็นการกินหลายต่อโดยหมากตัวเดียว ในการเดินครั้งเดียว
3.7 แม้ผู้เล่นจะมีอิสระในการเลือกเดินตัวหมากตัวใดก็ได้ แต่หากมีตัวหมากที่กินหมากของอีกฝ่ายหนึ่งได้ ผู้เล่นจะต้องเดินหมากเพื่อกินในการเดินครั้งนั้น (เว้นแต่จะมีตัวหมากที่กินคู่ต่อสู้ได้มากกว่า 1 ตัว ก็สามารถเลือกที่จะกินวิธีใดวิธีหนึ่ง) เรียกว่า ไม่มีการหักขา
การตัดสิน ผลของการเล่นแต่ละกระดาน จะสิ้นสุดลงโดยมีการแพ้-ชนะ หรือเสมอ ดังนี้
4.1 ฝ่ายที่สามารถกินหมากคู่ต่อสู้จนหมดจากกระดานเป็นฝ่ายชนะ
4.2 ฝ่ายที่ไม่สามารถเดินหมากตัวใดได้เลย แม้จะมีตัวหมากเหลืออยู่ เป็นฝ่ายแพ้
4.3 ผลการสิ้นสุดโดยการยินยอมทั้ง 2 ฝ่าย เช่น ตกลงยอมเสมอ หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งยอมแพ้
การเปิดรูปหมาก เป็นหลักสำคัญพื้นฐานในการเดินหมากฮอส เพราะการเปิดหมากรูปที่ดีถูกต้อง จะมีโอกาสแพ้น้อย ทั้งนี้จากตัวอย่างที่นำมาเสนอให้สังเกตถึงจังหวะในการขึ้นหมากให้ดี หากฝึกฝนถึงระดับเซียน การเปลี่ยนจังหวะการเดินหล่านี้จะนำไปสู่การแปรรูปที่หลายหลาก ทำให้มีแต้มหมากมีการพลิกแพลง และจะมีโอกาสชนะมากขึ้นตามไปด้วย
ครั้งที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. |
ดำ 25-22 22-18 29-25 25-22 26-23 28-24 |
ขาว 8-11 4-8 7-10 5-9 10-15 6-10 |
|
มาตรฐาน พบ สามตัวเรียง
|
ครั้งที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. |
ดำ 25-22 22-18 29-25 25-22 26-23 23-19 28-19 27-23 |
ขาว 8-11 4-8 7-10 10-15 6-10 15-24 2-6 6-9 |
|
มาตรฐาน พบ มุมคู่
|
ครั้งที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. |
ดำ 25-22 22-18 29-25 25-22 26-23 28-24 |
ขาว 8-11 4-8 6-10 5-9 8-12 9-13 |
|
มาตรฐาน พบ ห้าแต้ม
|
ครั้งที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. |
ดำ 25-22 22-18 29-25 25-22 27-23 28-24 |
ขาว 8-11 4-8 5-9 7-10 10-15 6-10 |
|
อีปุ้ม พบ สามตัวเรียง
|
ครั้งที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. |
ดำ 25-22 22-18 29-25 27-23 28-24 26-22 |
ขาว 8-11 4-8 7-10 5-9 10-15 6-10 |
|
สามตัวเรียง พบ สามตัวเรียง
|
ครั้งที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. |
ดำ 25-22 22-18 18-11 29-25 25-22 26-23 28-24 |
ขาว 7-10 10-15 8-15 4-8 8-11 6-10 5-9 |
|
ตัดหน้า
|
ครั้งที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. |
ดำ 25-22 22-18 29-25 25-22 18-9 26-23 |
ขาว 8-11 4-8 6-10 10-14 5-14 7-10 |
|
ตัดข้าง
|
ครั้งที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. |
ดำ 25-22 22-18 29-25 25-22 26-23 28-24 24-19 |
การกิน ถือเป็นเทคนิคพื้นฐานที่สำคัญอีกส่วนหนึ่งในการเล่นหมากฮอส
การเข้าใจการกินจะช่วยทำให้การบังคับหมากคู่ต่อสู้ กระทำได้ง่ายดายมากขึ้น สำหรับผู้เล่นหน้าใหม่แล้ว
ควรศึกษาและเข้าใจรูปแบบการกินต่าง ๆ ที่นำเสนอซึ่งคัดมาจากรูปหมากที่เกิดขึ้นจริงได้หมดสิ้น
เมื่อพบกับหมากในลักษณะคล้ายกันนี้ ก็สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้ทันที
ดำ 18-14 กิน 3 ต่อ |
ขาว กิน |
||
รูปที่ 2
|
ดำ 19-15 18-14 กิน 2 ต่อ |
ขาว กิน กิน |
||
รูปที่ 3
|
ดำ 15-11 กิน 3 ต่อ |
ขาว กิน |
||
รูปที่ 4
|
ดำ 18-15 19-16 กิน 3 ต่อ |
ขาว กิน กิน |
||
รูปที่ 5
|
ดำ 20-16 19-15 กิน กิน 2 ต่อ |
ขาว กิน กิน กิน |
||
รูปที่ 6
|
การไล่-หนี เป็นเทคนิคระดับสูงของหมากฮอส
ผู้เล่นจำเป็นต้องเข้าใจเรื่องของจังหวะและตำแหน่งในการวางหมากเป็นอย่างดี
การเดินผิดพลาดเพียงครั้งเดียวจะทำให้ผลลัพธ์เปลี่ยนแปลงไปได้
ขอให้ผู้อ่านพยายามหาคำตอบของรูปไล่รูปหนี่แต่ละรูปให้ดีก่อนที่จะดูเฉลย
หากใช้ความคิดในแต่ละรูปเป็นอย่างดีจะทำให้การบังคับหมากปลายกระดานมีความเฉียบคมมากขึ้น
เฉลย 8-3, 22-26, 30-25, 23-27, 3-17, 27-31, 17-13 เสมอกัน |
|||
รูปที่ 2
ดำเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย 6-1, 22-26, 1-28, 26-31, 28-32, 31-27, 30-25, 27-31, 32-18, 31-22 เสมอกัน |
|||
รูปที่ 3
ดำเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย 25-29, 8-3, 13-2, 16-12, 29-15 ชนะ |
|||
รูปที่ 4
ขาวเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 32-9, 28-32, 9-5, 32-28, 5-1 เสมอกัน |
|||
รูปที่ 5
ดำเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย 22-31, 24-28, 31-24, 1-5, 24-1 ชนะ |
|||
รูปที่ 6
ดำเดินก่อน เอาชนะ |
กลหมากฮอส บรรดาหมากกระดานที่นิยมเล่นกันทั่วไป
ได้แก่ หมากฮอสและหมากรุกต่าง ๆ นอกจากการเล่นปกติโดยผู้เล่น 2 ฝ่ายแล้ว
ยังได้มีการคิดการเล่นขึ้นมาอีกวิธีหนึ่ง คือ หมากกล
เพื่อใช้ลับสมองและให้ความสนุกสนาน
แต่กลหมากฮอสดูจะอาภัพและอยู่ในฐานะที่ต่ำต้อยกว่ากลหมากกระดานประเภทอื่น
เพราะเชื่อกันว่าการแก้กลทำได้ไม่ยาก จึงไม่สนุกเร้าใจและชวนให้คิดแก้
ดังนั้นผู้เล่นส่วนใหญ่จึงมองข้ามความสำคัญของกลหมากฮอสไป
ความเป็นจริงแล้ว
กลหมากฮอสมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจไม่น้อยกว่าหมากกระดานประเภทใดเลย ในกลหมากรุก
ส่วนใหญ่จะเป็นการหาทางเอาชนะให้เร็วที่สุดของฝ่ายที่กำลังหมากเหนือกว่า
โดยอาจมีเงื่อนไขกำหนดเพิ่มเติมบ้าง
ตรงข้ามกับกลหมากฮอสที่ส่วนใหญ่จะเป็นการหาทางหรือวิธีทำให้ฝ่ายที่ ดูคล้ายเป็นรอง
(อาจโดยกำลังหรือรูปหมาก) พลิกสถานการณ์กลับมาเป็นฝ่ายชนะ การที่ฝ่ายที่น่าจะแพ้
กลับมาชนะได้ น่าจะให้ความรู้สึกเร้าใจน่าสนใจและท้าทาย
มากกว่าการรุกไล่และเอาชนะของฝ่ายที่เป็นต่อ
เทียบความยากง่ายของหมากการะดานต่าง
ๆ แล้ว แน่นอนว่ากลหมากฮอสย่อมมีความยากน้อยกว่ากลหมากกระดานประเภทอื่น
เนื่องจากมีตัวหมาก ตาเดินและกติกาที่น้อยกว่า
แต่ความยากที่น้อยกว่านี้ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย ในกลที่ไม่ซับซ้อนมาก
ผู้เล่นทั่วไปก็อาจแก้ได้โดยใช้เวลาไม่นาน แต่สำหรับกลที่ซ่อนปมไว้หลายชั้น
บางครั้งแม้แต่ผู้ที่ได้ชื่อว่าเล่นเก่ง ก็ยังต้องใช้เวลานานกว่าจะพบวิธีแก้
หรือกระทั่งอาจหาทางเฉลยไม่พบเลยก็มี
กลหมากฮอส
เป็นการตั้งตัวหมากในกระดาน เพื่อให้ผู้เล่นหาทางเดินที่ดีที่สุด
ซึ่งจะทำให้ผลการเดิน เป็นไปตามที่กำหนดให้ รูปแบบและวิธีการตั้ง
ไม่จำกัดทั้งจำนวนหมากและลักษณะว่าเป็นเบี้ยหรือฮอส ดังนั้น ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
หรือทั้งสองฝ่ายจึงอาจมีฮอสกี่ตัวก็ได้ ทั้งที่อีกฝ่ายยังไม่เปิดทางให้เข้าฮอส
กติกาการเดินและการตัดสิน ใช้เช่นเดียวกับการเดินหมากฮอสปกติ
หลักการแก้กลหมากฮอส
1. หาทางแก้กลแต่ละกลโดยไม่แตะต้องหรือเคลื่อนย้ายตัวหมาก วิธีนี้จะทำให้ได้ประโยชน์สูงสุด ทั้งจากการแก้กล และการเล่นปกติ เพราะเป็นการฝึกการวางแผนและคาดการณ์ในอนาคต การดูเฉลยแม้จะทำให้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นใหม่ทันทีก็ตาม แต่จะเป็นการบังคับยัดเยียด หรือลักษณะการท่องจำ ไม่ใช่การฝึกสมองให้เฉียบคมยิ่งขึ้น เว้นแต่บางกล ที่เมื่อพยายามอย่างเต็มที่แล้ว ยังหาทางแก้ไม่ได้ แสดงว่ากลรูปนั้นมีความซับซ้อนเกินความสามารถของผู้เล่นในขณะนั้น จึงค่อยใช้วิธีสุดท้ายคือการดูเฉลย ซึ่งจะช่วยให้ทราบแนวและเทคนิคการเล่นเพิ่มมากขึ้น อันจะเป็นประโยชน์สำหรับการแก้กลที่มีลักษณะ ใกล้เคียงกันได้ ในครั้งต่อ ๆ ต่อไป
2. อย่ายอมแพ้ง่าย ๆ หมากกลคือปริศนาที่ต้องหาทางแก้ แต่ละกลมีความยากง่ายแตกต่างกัน สำหรับกลที่ง่าย อาจใช้เวลาเพียงเล็กน้อย แต่กลที่ซับซ้อนต้องใช้เวลามาก และอาจหาทางแก้ไม่พบใน ขณะนั้น ลองวางรูปกลนั้นไว้ก่อน แล้วพักผ่อนให้สบาย จนรู้สึกสดชื่น และพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ แล้ว จึงค่อยนำกลที่ค้างอยู่มาพิจารณาใหม่ ในครั้งหลังนี้ อาจจะทำให้พบกับคำตอบได้อย่างง่ายดาย
3. มองหาความคิดพื้นฐานในกลนั้นหลักการเดินที่สำคัญของหมากฮอสคือ การกินและการกัก ดังนั้น การเล่นปกติหรือการแก้หมากกล ก็ขึ้นอยู่กับพื้นฐาน 2 ประการนี้ ในบางกลอาจมีหลายรูปแบบซ้อนกันอยู่ จำเป็นที่ผู้เล่นจะต้องมองให้ออก อย่าลืมว่าทุกกลจะมีกลแจไขทางออกอย่างน้อยที่สุด 1 ทางเสมอ อาจจะเป็นการเดินเพียงครั้งเดียว ก็นำไปสู่คำตอบได้ บางกลอาจมีความซับซ้อนแบบเขาวงกต ซึ่งจะต้องหาทางออกให้พบ
4. มองหาหมากกลจากการเล่นปกติในการเล่นหมากฮอสเกือบทุกกระดาน จะมีหมากกลแฝงอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงปลายกระดาน ถ้าฝึกจนเป็นความเคยชินแล้ว จะเกิดประโยชน์มาก เพราะรูปกลเหล่านั้นจะมีส่วนสำคัญสำหรับการเล่นที่จะช่วยกรุยทางไปสู่ชัยชนะ
กลหมากฮอสปี 24
เฉลย กรณีที่ 1 ไม่ชนะ 10-6,16-12,5-27, 12-3, 27-5, 3-12เสมอล้อเลียน กรณีที่ 2 ชนะ 5-27, 15-19, 32-28, 16-12, 27-5, 20-24, 10-6, 2-8, 6-2 ชนะ |
|||
กลที่ 1 (สังข์ เพียรแนวนุ่ม) ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย กรณีที่ 1 ชนะ 7-2, 9-14, 2-20, 27-31, 30-25, 31-17, 20-31, 17-13, 25-22ชนะ กรณีที่ 2 ชนะ 7-2, 9-13, 2-6, 10-14, 22-17(ตาอื่นไม่ชนะ), 13-22, 6-9 ชนะ |
|||
กลที่ 2 (สังข์ เพียรแนวนุ่ม)
ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 31-27, 19-16, 2-6, 16-12, 27-20, 12-8, 10-14, 30-26, 6-9, 26-22, 20-16, 8-3, 16-26, 3-17, 9-14, 17-10, 26-7เสมอกัน |
|||
กลที่ 3 (ศุภกิตติ์)
ขาวเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย 13-17, 25-21, 17-22, 24-20, 16-19, 21-17, 22-25, 17-14, 25-29, 14-10, 19-23, 10-6, 29-15, 6-1, 15-11, 1-19, 23-27, 19-16, 11-15, 16-30, 27-31, 20-16, 31-20, 16-12, 15-19, 30-16, 20-11ชนะ |
|||
กลที่ 4 (ศุภกิตติ์)
ขาวเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 1-15, 26-23, 15-22, 23-19, 22-31, 19-16, 31-26, 16-12, 26-19, 8-4, 19-1, 4-15, 1-19, 12-8, 19-30, 8-4, 30-12, 4-11, 7-16, 20-11, 12-3ชนะ |
|||
กลที่ 5 (ศุภกิตติ์)
ขาวเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 3-17 (3-21 ก็ชนะเหมือนกัน), 30-21, 17-22, 21-3, 22-13, 9-14, 13-22, 3-10, 11-8, 10-1, 22-13, 14-18, 8-3, 1-28, 13-31, 28-1, 3-14ชนะ |
|||
กลที่ 6 (ศุภกิตติ์)
ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย กรณีที่ 1 ไม่ชนะ 10-6,16-12,5-27, 12-3, 27-5, 3-12เสมอล้อเลียน กรณีที่ 2 ชนะ 5-27, 15-19, 32-28, 16-12, 27-5, 20-24, 10-6, 2-8, 6-2 ชนะ |
|||
กลที่ 1 (สังข์ เพียรแนวนุ่ม) ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย กรณีที่ 1 ชนะ 7-2, 9-14, 2-20, 27-31, 30-25, 31-17, 20-31, 17-13, 25-22ชนะ กรณีที่ 2 ชนะ 7-2, 9-13, 2-6, 10-14, 22-17(ตาอื่นไม่ชนะ), 13-22, 6-9 ชนะ |
|||
กลที่ 2 (สังข์ เพียรแนวนุ่ม) ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 31-27, 19-16, 2-6, 16-12, 27-20, 12-8, 10-14, 30-26, 6-9, 26-22, 20-16, 8-3, 16-26, 3-17, 9-14, 17-10, 26-7เสมอกัน |
|||
กลที่ 3 (ศุภกิตติ์) ขาวเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย 13-17, 25-21, 17-22, 24-20, 16-19, 21-17, 22-25, 17-14, 25-29, 14-10, 19-23, 10-6, 29-15, 6-1, 15-11, 1-19, 23-27, 19-16, 11-15, 16-30, 27-31, 20-16, 31-20, 16-12, 15-19, 30-16, 20-11ชนะ |
|||
กลที่ 4 (ศุภกิตติ์)
ขาวเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 1-15, 26-23, 15-22, 23-19, 22-31, 19-16, 31-26, 16-12, 26-19, 8-4, 19-1, 4-15, 1-19, 12-8, 19-30, 8-4, 30-12, 4-11, 7-16, 20-11, 12-3ชนะ |
|||
กลที่ 5 (ศุภกิตติ์)
ขาวเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 3-17 (3-21 ก็ชนะเหมือนกัน), 30-21, 17-22, 21-3, 22-13, 9-14, 13-22, 3-10, 11-8, 10-1, 22-13, 14-18, 8-3, 1-28, 13-31, 28-1, 3-14ชนะ |
|||
กลที่ 6 (ศุภกิตติ์)
ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย กรณีที่ 1 ไม่ชนะ 10-6,16-12,5-27, 12-3, 27-5, 3-12เสมอล้อเลียน กรณีที่ 2 ชนะ 5-27, 15-19, 32-28, 16-12, 27-5, 20-24, 10-6, 2-8, 6-2 ชนะ |
|||
กลที่ 1 (สังข์ เพียรแนวนุ่ม) ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย กรณีที่ 1 ชนะ 7-2, 9-14, 2-20, 27-31, 30-25, 31-17, 20-31, 17-13, 25-22ชนะ กรณีที่ 2 ชนะ 7-2, 9-13, 2-6, 10-14, 22-17(ตาอื่นไม่ชนะ), 13-22, 6-9 ชนะ |
|||
กลที่ 2 (สังข์ เพียรแนวนุ่ม) ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 31-27, 19-16, 2-6, 16-12, 27-20, 12-8, 10-14, 30-26, 6-9, 26-22, 20-16, 8-3, 16-26, 3-17, 9-14, 17-10, 26-7เสมอกัน |
|||
กลที่ 3 (ศุภกิตติ์) ขาวเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย 13-17, 25-21, 17-22, 24-20, 16-19, 21-17, 22-25, 17-14, 25-29, 14-10, 19-23, 10-6, 29-15, 6-1, 15-11, 1-19, 23-27, 19-16, 11-15, 16-30, 27-31, 20-16, 31-20, 16-12, 15-19, 30-16, 20-11ชนะ |
|||
กลที่ 4 (ศุภกิตติ์) ขาวเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 1-15, 26-23, 15-22, 23-19, 22-31, 19-16, 31-26, 16-12, 26-19, 8-4, 19-1, 4-15, 1-19, 12-8, 19-30, 8-4, 30-12, 4-11, 7-16, 20-11, 12-3ชนะ |
|||
กลที่ 5 (ศุภกิตติ์) ขาวเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 3-17 (3-21 ก็ชนะเหมือนกัน), 30-21, 17-22, 21-3, 22-13, 9-14, 13-22, 3-10, 11-8, 10-1, 22-13, 14-18, 8-3, 1-28, 13-31, 28-1, 3-14ชนะ |
|||
กลที่ 6 (ศุภกิตติ์)
ดำเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 8-3, 22-26, 30-25, 23-27, 3-17, 27-31, 17-13 เสมอกัน |
|||
รูปที่ 2
ดำเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย 6-1, 22-26, 1-28, 26-31, 28-32, 31-27, 30-25, 27-31, 32-18, 31-22 เสมอกัน |
|||
รูปที่ 3
ดำเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย 25-29, 8-3, 13-2, 16-12, 29-15 ชนะ |
|||
รูปที่ 4 ขาวเดินก่อน เอาชนะ |
เฉลย 32-9, 28-32, 9-5, 32-28, 5-1 เสมอกัน |
|||
รูปที่ 5 ดำเดินก่อน หาเสมอ |
เฉลย
22-31, 24-28, 31-24, 1-5, 24-1 ชนะ
|
|||
รูปที่ 6
ดำเดินก่อน เอาชนะ |
ไฟล์รูปเสียแ้กให้หน่อยครับ
ตอบลบไฟล์รูปเสียครับ
ตอบลบI want to testify about TD Ameritrade who helped me invest my bitcoin and made me who I am today, I never believe in investing in bitcoin until I met TD Ameritrade. I saw so many testimonies about him helping people to invest their bitcoin. I decide to contact him and invested $500 and, after 72 hours, I get my $ 5,000 profit in my bitcoin wallet. Since I invested with them and I always receive my profit without delay, so if you want to invest your bitcoin, TD Ameritrade is the best deal with which you can invest and make profit is a guarantee. So, if you want to invest, just contact him and he will guide you on how to start your investment. whatsapp +447883246472
ตอบลบEmail: tdameritrade077@gmail.com
เองเป็นคอมใช่ไหม
ลบRECOVERY OF LOST FUNDS:
ตอบลบARE YOU A VICTIM OF THE BINARY OPTIONS, BITCOIN and LOAN SCAM CONTACT RECOVERY MASTERS
Recovery Masters at email (Recoverymasters@email.cz) are helping bitcoin scam victims recover stolen crypto coins from rippers. I’m American but live in Australia and I invested the sum of $ 357,800 in Bitcoin with a cryptocurrency company I met online. After a couple of weeks, my initial investment had increased from $ 203,800 to $ 579,850. This felt so good as the investment grew rapidly in just a few weeks. When it was time to retire, my withdrawal request was denied, all effort to make withdrawal declined, then I realized I had been ripped off. Thanks to credible and reliable recovery agent Recovery Masters.The hackers whom I learned are partners with chain lysis and audits of where your stolen funds end up helping me recover almost all lost Bitcoin. you contact RecoveryMasters on whatsapp also at WhatsAp +1(551) 202-23-35 they will attend to you if you have such an issue.