27 พฤษภาคม 2564

กู้เงินผ่าน SCB Easy App ดอกเบี้ยถูก 0.46% ต่อเดือน ด้วย SCB DeeJung Transfer

ถ้าใครต้องการใช้เงินด่วน สามารถกู้เงินด้วย SCB DeeJung Transfer ผ่าน SCB Easy App ได้ โดยจ่ายดอกเบี้ยเพียง 0.46% ต่อเดือน ซึ่งขั้นตอนการกู้เงินนั้น เราสามารถทำได้ด้วยตัวเองผ่าน SCB Easy App ตามขั้นตอนต่อไปนี้

1. เลือกบัตรเครดิต ที่เราต้องการกดเงินออกมา แล้วเลือก DeeJung Transfer 



2. เลือกบัญชีที่เราต้องการรับเงิน


3. ระบุจำนวนเงินที่เราต้องการกู้ เช่น 10,000 บาท

4. เลือก Installment plan และเลือกจำนวนเดือนที่เราต้องการผ่อนชำระ













สรุปวัคซีนโควิด19 (Covid19 Vaccine)

ระบบลงทะเบียนฉีดวัคซีน

  • หมอพร้อม
    • Facebook หมอพร้อม => Link
  • นนท์พร้อม
    • เว็บไซต์นนท์พร้อม => Link
    • Facebook สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี => Link
  • ไทยร่วมใจ


สังเกตอาการโควิด (Link)
  • อาการจากโควิดสายพันธุ์เดลต้า (อินเดีย)
    • ปวดหัว
    • เจ็บคอ
    • มีน้ำมูก
    • ไม่ค่อยพบการสูญเสียการรับรส
    • อาการคล้ายเป็นหวัดธรรมดา
    • หากรู้สึกไม่สบาย คล้ายเป็นหวัด ให้สังเกตตัวเอง หากมีอาการน่าสงสัยให้รีบไปพบแพทย์
  • อาการจากโควิดสายพันธุ์อัลฟ่า (อังกฤษ)
    • มีไข้ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
    • เจ็บคอ
    • หายใจหอบเหนื่อย
    • ปวดตามร่างกายและศีรษะ
    • การรับรสหรือการได้รับกลิ่นผิดปกติ
    • หากพบอาการข้างต้น ให้รีบพบแพทย์เพื่อรับการตรวจให้ได้ผลที่แน่ชัด
  • อาการจากโควิดสายพันธุ์เบต้า (แอฟริกาใต้)
    • ปวดเมื่อยตามร่างกาย
    • เจ็บคอ
    • ท้องเสีย
    • ปวดศีรษะ
    • ตาแดง
    • การรับรสหรือการได้รับกลิ่นผิดปกติ
    • มีผื่นขึ้นบริเวณผิวหนัง หรือนิ้วมือนิ้วเท้าเปลี่ยนสี
    • หากพบอาการข้างต้น ให้รีบพบแพทย์เพื่อรับการตรวจให้ได้ผลที่แน่ชัด





เตรียมตัวก่อนและหลังฉีดวัคซีนโควิด 








วัคซีนทางเลือก
  • เช็คเลย! ลิสต์รายชื่อโรงพยาบาลที่เปิดลงทะเบียนสำรวจจองวัคซีนทางเลือก Moderna => Link
  • THG จับมือ KBTG เปิดแพลตฟอร์มดิจิทัล ลงทะเบียน ฉีดวัคซีนทางเลือก => Link


สรุปวัคซีน Astrazeneca
  • ประสิทธิภาพมากกว่า 60% => Link




  • How the vaccine works => Link
  • Approved by WHO
  • อาการ ผลข้างเคียง => Link
  • มีความเสี่ยง blood clot หรือการเกิดลิ่มเลือด (คนอายุต่ำกว่า 60 จะมีโอกาสสูงกว่า)
    • Covid: Under-30s offered an alternative to Oxford-AstraZeneca jab => Link
    • risk-benefit calculations for different scenarios => Link
  • related info
    • การเกิดลิ่มเลือดจากวัคซีนโควิด AstraZeneca และ Johnson&Johnson เกิดบ่อยแค่ไหน รักษาได้ไหม => Link
      • การเกิดลิ่มเลือดตอนนี้เจอในวัคซีน Astra Zeneca และ Johnson (2 ตัวนี้ใช้เทคโนโลยี Viral vector)
      • ถ้ามีการเกิดลิ่มเลือด จะมีอาการหลังฉีดวัคซีน 4 - 28 วัน
      • ลิ่มเลือดเกิดได้หลายที่ เกิดที่ไหนมีอาการที่นั่น 
      • ถ้าเกิดลิ่มเลือดที่สมองจะมีอาการปวดศีรษะเรื้อรัง(ไม่ใช่ปวดวันเดียวแล้วหาย) เป็นหลายวัน กินยาก็ไม่หาย บางคนอาจมีอาการตามัว บางคนอาจมีอาการมึนๆ งงๆ ร่วมด้วย
      • ถ้าเกิดลิ่มเลือดที่ขา จะมีอาการขาบวมข้างเดียว
      • ถ้าเกิดลิ่มเลือดที่ปอด จะมีอาการหอบ เหนื่อย แน่นหน้าอก
      • ถ้าเกิดลิ่มเลือดอุดตันในช่องท้อง จะมีอาารปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อาจมีอาการปวดร้าวบริเวณหลังด้วย
      • อาจมีอาการเกล็ดเลือดต่ำ คือมีเลือดออกง่ายตามบริเวณต่างๆ เช่น มีอาการช้ำง่ายบริเวณแขน ขา หรือลำตัว หรือมีจุดเล็กๆ ตามร่างกาย
      • ถ้ามีข้างต้นหลังฉีดวัคซีน 4 - 28 วัน ให้รีบไปหาหมอ
      • อาการข้างต้น มักจะเจอในคนอายุน้อย คนสูงอายุเจอไม่เยอะ
    • ผลข้างเคียงของวัคซีน Sinovac กับ AstraZeneca คุ้มค่าที่จะฉีดไหม => Link
    • ตอบชัด ไม่ปกปิด AstraZeneca ควรฉีดหรือไม่ ใครที่ควรฉีด => Link
    • ผลวิจัยพบวัคซีน แอสตร้าเซนเนก้า ต้านโควิดสายพันธุ์อินเดียได้ 97% => Link
    • วัคซีน แอสตร้าเซนเนก้า ต้านโควิดสายพันธุ์แอฟริกาได้ 10% => Link


สรุปวัคซีน โมเดอร์นา (Moderna) 
  • วัคซีน โมเดอร์นา (Moderna) => Link
  • ถาม – ตอบเรื่อง Moderna COVID-19 Vaccine => Link







คู่มือ เอกสาร และข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับโควิด19 (Covid19)

  • คู่มือ วัคซีนสู้โควิด (ฉบับประชาชน) => Link
  • บทความ ข้อมูลวัคซีนโควิด => Link
  • ความคืบหน้าการฉีดวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย => Link
  • ลงทะเบียนรับประกันแพ้วัคซีนโควิดฟรี => Link
  • How well COVID-19 vaccines work against the Delta variant, according to the best available data => Link 
  • รวมข้อมูลโควิดกลายพันธุ์ทั้งหมด และวัคซีนยี่ห้อไหน ป้องกันสายพันธุ์อะไรได้บ้าง => Link
  • jitasa.care เช็คพิกัด สถานที่สำคัญ และจุดขอความช่วยเหลือโควิด => Link
  • วัคซีนผสมดีกว่า Pfizer จริงหรือ ทำไมที่อเมริกามาระบาดใหม่ และทำไมอิสราเอลถึงระบาดอีก => Link
  • การฉีดวัคซีนโควิดสลับชนิด ทำได้หรือไม่ มีผลดีผลเสียอย่างไร => Link 
  • ประวัติการรับวัคซีนโควิด => Link


21 พฤษภาคม 2564

Linux Ubuntu no space left on device

 If you found error "no space left on device" on "Linux Ubuntu", please try to run these commands


sudo apt clean

sudo purge-old-kernels

sudo apt autoremove -y




19 พฤษภาคม 2564

ฝึก 8 อย่าง จะได้ไม่ทุกข์











from forwarding e-mail

รวมข้อมูลหุ้น E1VFVN3001 ที่ไปลงทุนดัชนี VN30 ของประเทศเวียดนาม



ข้อมูลหุ้น E1VFVN3001 

URL: https://www.set.or.th/set/companyprofile.do?symbol=E1VFVN3001&ssoPageId=4&language=th&country=TH 

หุ้น E1VFVN3001 คือ DR ที่ไปลงทุนใน ETF ดัชนี VN30 ที่ถือหุ้นที่ใหญ่ที่สุด 30 ตัวแรกของประเทศเวียดนาม ซึ่งเราสามารถดูข้อมูลกองทุน ETF ตัวหลักได้ที่ https://dragoncapital.com.vn/en/vfmvn30-etf-fund-performance/



บทวิเคราะห์หุ้น E1VFVN3001 จาก บล บัวหลวง

URL: https://knowledge.bualuang.co.th/article-categories/dr/



Population Pyramid ของประเทศเวียดนาม

URL: https://en.wikipedia.org/wiki/Demographics_of_Vietnam

กราฟปิรามิดแสดงจำนวนประชากร ถ้าตรงกลางมีเยอะๆ แสดงว่าดีเพราะมีคนหนุ่มสาววัยทำงานเยอะ ถ้าด้านบนมีเยอะแสดงว่าประเทศมีคนแก่เยอะ หรือด้านล่างมีเยอะแสดงว่ามีเด็กเยอะ



ข้อมูลดัชนีย้อนหลังของตลาดหุ้นเวียดนาม

URL: https://tradingeconomics.com/vietnam/stock-market

เทรนด์ขาขึ้นน่าสนใจ



GDP Growth ของประเทศเวียดนาม

URL: https://tradingeconomics.com/vietnam/gdp-growth-annual

ยิ่งเยอะยิ่งดี ถ้า 2 digit จะยิ่งดี



อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก

URL: https://tradingeconomics.com/vietnam/deposit-interest-rate

ดอกเบี้ยเงินฝากถ้าแนวโน้มต่ำๆ จะทำให้คนย้ายจากการฝากเงินไปกับธนาคารมาลงทุนให้หุ้น

ถ้าดอกเบี้ยเงินฝากต่ำ จะทำให้ดอกเบี้ยเงินกู้ต่ำไปด้วย ทำให้มีการลงทุนมากขึ้น



GDP per capita

URL: https://tradingeconomics.com/vietnam/gdp-per-capita

ยิ่งเยอะยิ่งดี


โจน จันใด : ชายผู้ชวนทุกคนกลับมาใช้ชีวิตอย่างที่มนุษย์ควรจะเป็น

part1

part2

part3

part4

รายละเอียด ธนาคารส่งข้อมูล transaction ลูกค้าให้กรมสรรพากรตรวจสอบ

 Link

บทความยอดนิยม (ล่าสุด)

บทความยอดนิยม (1 ปีย้อนหลัง)