Pages

Pages

25 กุมภาพันธ์ 2566

jenkins groovy error java.lang.NoSuchMethodError

 


If you found jenkins groovy error java.lang.NoSuchMethodError like error below

java.lang.NoSuchMethodError: 'boolean org.kohsuke.groovy.sandbox.SandboxTransformer.mightBePositionalArgumentConstructor(org.codehaus.groovy.ast.expr.VariableExpression)


The cause of this error maybe security update of sandbox plugin.

To fix error above, try to update these plugin

  • Pipeline: Groovy
  • Pipeline: Groovy Libraries
By going to Jenkins > Dashboard > Plugin Manager


20 กุมภาพันธ์ 2566

Why Success Doesn’t Lead to Satisfaction by Ron Carucci

As 2022 came to a close, I was enjoying a year-end reflection session with an executive client, whom we’ll call Logan. As we looked back over his accomplishments for the year, he said something that utterly astonished me: “You know, I was almost happy.” Probing into what he could have possibly meant, he reflected that despite having met or exceeded nearly all his goals, he was obsessed with the one goal he fell short on (which, frankly, was inconsequential to his year’s runaway success). I thought we’d met to revel in the many fruits of his hard work. Instead, his ability to feel well-earned joy was hijacked by only partially achieving one of his goals.

Composing myself, I asked him, “So you’re telling me that had you completely achieved that one goal, you’d feel happy about all of it, but since you didn’t, you’re not happy about any of it?”

Even more telling, he replied, “What’s the point of being happy about failure?”

Logan is hardly alone in making a misguided correlation between success and happiness. Many successful professionals struggle to enjoy their accomplishments. For example, one study found that 72% of successful entrepreneurs suffer from depression or other mental health concerns. And CEOs may be depressed at more than double the rate of the public at large. I confess that some of my uneasiness with Logan’s complaint was its unnerving familiarity. Satisfaction with my own professional achievements has often eluded me as I’ve made unhealthy comparisons to others’ achievements or focused more on what I didn’t achieve than what I did.

Harvard Professor Arthur Brooks has spent years researching our seemingly inescapable but foolish association between achievement, wealth, notoriety, and a lasting sense of satisfaction. He writes:
The insatiable goals to acquire more, succeed conspicuously, and be as attractive as possible lead us to objectify one another, and even ourselves. When people see themselves as little more than their attractive bodies, jobs, or bank accounts, it brings great suffering…You become a heartless taskmaster to yourself, seeing yourself as nothing more than Homo economicus. Love and fun are sacrificed for another day of work, in search of a positive internal answer to the question Am I successful yet? We become cardboard cutouts of real people.
And when it comes to fueling our obsession with acquiring more money, expensive toys, professional successes, or prestige, we have help. Our brains’ reward system, especially the neurotransmitter dopamine, drives us to achieve goals and rewards us with a great sense of pleasure when we do. But that pleasure is short lived, as our brains are hardwired to also seek balance from extreme emotional states. That leaves us with an empty longing to repeat whatever experience brought us that pleasure in the first place. This ostensibly addictive cycle throws our “enoughness” barometers completely out of whack, preventing us from being able to objectively gauge if what we’ve achieved is, in fact, satisfying. That’s why, although most of us intuitively know that happiness isn’t realized from the pursuit of money, status, or fame, we can’t stop ourselves from trying.

Logan’s paradoxical response to his success opened my eyes to something profound. Dissatisfaction wasn’t an outcome — it was learned. His brain had been trained to anticipate and experience dissatisfaction based on faulty measures of enoughness. Logan began his year telling himself that he would be satisfied when he achieved or exceeded all his goals. By default, he defined dissatisfaction right from the start of the year as the absence of achieving or exceeding all his goals.

If dissatisfaction can be learned, then so too can satisfaction. Instead of treating satisfaction as a consequence of particular outcomes, leaving it to the whims of unhealthy correlations with things like wealth, status, or more trophies (I’ll be satisfied when…), we should treat it like a skill, a learned behavior (I’ll be satisfied because…). In essence, we need to see success and satisfaction as independent variables.

What if Logan had begun his year by telling himself, “I’ll be satisfied because I got to work on exciting projects with great people” or “I’ll be satisfied because I got a few opportunities to shine using my talents and created moments for others to shine using theirs.” Doing so treats satisfaction as a choice, not a capricious outcome. So if you really want lasting satisfaction in life, you’ll need to relearn your approach to finding it.




Recalibrating Your Enoughness Gauges

If you’re prone to dissatisfaction in moments when you expect to be satisfied, only to then double down on the same choices that made you dissatisfied in the first place, you must redefine your relationship with satisfaction. It’s especially important given the likely damaging impact your dissatisfaction is having on close relationships. Learning to be satisfied, then, must begin by dismantling your dissatisfaction apparatus. You must reformulate your enoughness gauges so that they collect and measure the right data. To start, identify which yardsticks are a struggle for you:




Reexamine your relationship with money.

If the pursuit of wealth has become your emblem of satisfaction, you’re in large company. According to one study, 79% of Americans believe they would be happier if they had more money. Yes, it’s true, there is some degree of satisfaction money can buy. But for the most part, social science has long proven that in the end, money itself won’t satisfy.

The deeper question to examine then is, “What meaning have I attached to having more money?” To some degree, we all have a complex relationship to money. When that relationship shifts from enabling our well-being to defining our worth, we’ve confused means with meaning.

Here are some questions to get you started on redefining your relationship with money:
  • What do I believe about the role money plays in my well-being?
  • What triggers my anxiety about not having enough of it?
  • Do I compare my wealth to others (salaries, house size, material possessions) and feel dissatisfied when I think others have more?
  • In what ways does money cause me to feel guilt, shame, inadequacy, or self-importance?
  • How have I defined “enough” money?


Reexamine your relationship with achievement.

The feeling of reaching a hard-won goal is exhilarating. Promotions to bigger assignments. Publishing unique ideas. Inventing novel approaches. But how long does the exhilaration last? When you meet new people, are you privately eager for them to know about your successes?

When our track record of accomplishment defines us and reaching the next rung on whatever ladder we’re climbing consumes us, crowding out important relationships and the enjoyment of work and life, our relationship to achievement has become unhealthy. Here are some questions to get you started on redefining your relationship with achievement:
  • Do I neglect key relationships (spouse, kids, friends) in the pursuit of success?
  • Have I sacrificed my health (rest, diet, mental well-being) to achieve success?
  • Do I feel disillusioned or resentful when I fall short of a goal?
  • When is the last time I felt a sense of playfulness about my work, regardless of results, just for the sheer joy of doing it?
  • Do I compare my achievements to others, begrudging their successes as less earned than mine?
  • How have I defined “enough” achievement?



Reexamine your relationship with recognition and status.

Admiration from those we respect feels understandably gratifying. The esteem of others has a way of making us feel unique and prized. A prestigious social circle, far-reaching influence, and the accolades that come with success can be intoxicating. Social media has strapped a jetpack to this truth by providing the instant gratification of perceived fame and status. Followers, clicks, likes, and shares have become a dark currency that brokers prestige in an endless drip of fleeting notoriety.

But when our enjoyment of perceived importance degenerates to an insatiable craving for it, we’re in trouble. We resort to attention-seeking behaviors to keep the steady drip of admiration flowing. And in between doses, we question our inherent value, whether we’re really lovable beyond the image of ourselves we’ve created, and whether all the veneration is actually sincere. Here are some questions to get you started on redefining your relationship with recognition and status:
  • In what ways do I regularly seek out recognition from important people?
  • Do I spend excessive time monitoring my status on social media?
  • Do I resent it when others get recognition I feel I deserve more?
  • Do I privately question how much I’m loved, or doubt my inherent worth as a person?
  • Do I try to manipulate conversations (humble brags, name-drops, one-ups) to impress others and invite praise?
  • How have I defined “enough” recognition and status?
To be clear, there is nothing intrinsically wrong with money, achievement, or recognition. They can bring good things to our lives and those around us. But when our satisfaction depends on them, we’ve tarnished their good and turned them against ourselves. No matter how much money, achievement, or recognition we garner, the satisfaction they deliver will be short lived, keeping us on an unending “hedonic treadmill.”




Reconfigure Your Measurement Tools

The late Harvard Business School professor Clayton Christensen, author of How Will You Measure Your Life?, posed critical questions to his students as they graduated about how they could be sure their lives would yield true happiness. Unfortunately, most of today’s work world still encourages us to measure the very things that don’t. And while the last few years have certainly made a dent in shifting people’s values, we have a way to go before the rhetoric of self-care and living purposefully become the norm, putting us on healthy paths to lasting satisfaction.

In the spirit of Christensen’s work, an important place to start is with measurement. Here are three shifts that can help you reconfigure how you measure satisfaction:




Shift from comparison to compassion.

Psychologists agree that social comparison as a measurement of success leads to sadness and emptiness. Our fixation on someone else’s last step prevents us from taking our own next step.

Rather than chiding yourself for what you haven’t achieved, or resenting someone for what they have, can you show yourself kindness for even incremental progress? And can you show your perceived rival compassion for whatever it took to achieve what they did? Instead of feeling or trying to entice envy through comparison, a more compassionate response is gratitude — for the privilege of doing the work you do, for the positive experiences you’ve had doing it, and even for the painful setbacks that have made you better.




Shift from counting to contribution.

Instead of perpetual scorekeeping (i.e., the hedonic treadmill), counting your money, trophies, or followers, take stock of where you’re making contributions. In whose life have you made a positive difference? For whom have you created opportunities to grow? These are the experiences the social sciences tell us lead to lasting joy. Instead of continuously moving the satisfaction line just out of reach, look for ways to make positive contributions to others, and enjoy taking inventory of those.




Shift from contempt to connection.

The addictive cycle of dopamine highs and withdrawal can leave us feeling bitter, anxious, and sad. And when we see our emotional contaminants harm others, we feel worse. The contempt toward ourselves — and others trying to care for us — leads to isolation and loneliness. Left alone in the company of unreliable voices in our heads, we can spiral, desperately scrambling to regain momentary satisfaction.

That’s when connection with others is precisely the antidote we need to feel satisfied. Rather than turning on yourself or pushing others away, have the courage to reach out and ask for help. Instead of stockpiling contempt, appreciate the family, colleagues, and friends you can turn to (and who turn to you) when life gets tough. They’re where lasting satisfaction awaits you.

. . .

If deep, lasting satisfaction is something you long for, and the hedonic treadmill is one you’re ready to get off, then relearn how to be satisfied. Like any new skill, it will take trial and error, hard work, and determination. Without question, the satisfaction learning curve can be steep. Our unhealthy enoughness narratives have a lifetime of perfecting behind them. And we live in a world that teaches us from our formative years to look for satisfaction in all the wrong places (to paraphrase the country music singer Johnny Lee). But that doesn’t leave us without choice.

Logan and I agreed that we both needed to confront our unhealthy relationships with achievement and committed to supporting one another along the way. Specifically, we will focus on doing less — better and with joy — instead of doing more — better than others.

Close your eyes and think of a moment when you felt deep, genuine satisfaction: an everyday moment of joy with someone you care about or of making a difference for others. Wouldn’t many more moments of that kind of satisfaction be worth it?





15 กุมภาพันธ์ 2566

สรุปความรู้ที่ไ้ด้จากการอบรมหลักสูตร Critical Thinking จาก Baseplayhouse

การคิด (Thinking) 

การคิด (Thinking) นั้นแบ่งออกได้เป็น 2 แบบคือ

1. Critical Thinking คือ การคิดเพื่อการตัดสินใจ

2. Creative Thinking คือ การคิดเพื่อสร้างสิ่งใหม่


Elements of Critical Thinking

หลังจากได้รับโจทย์ 

1.ให้เราทำความเข้าใจโดยแตกองค์ประกอบให้เยอะๆ 

2. เชื่อมโยงอย่างมีตรรกะ

3. อนุมาน ลำดับความสำคัญและสรุปใจความอย่างมีหลักการ

หลังจากนั้นค่อยตัดสินใจ


เช่น A กับ B เล่นทายชื่อสัตว์กัน

  • A นึกสัตว์ 1 ชื่อไว้ในใจ
  • B ถาม A เพื่อหาข้อมูล เช่น บินได้ใช่ไหม ก่อเชื้อโรคใช่ไหม มีพิษใช่ไหม กินได้ใช่ไหม ขนาดเท่ากำปั้นใช่ไหม ส่วน A ตอบว่าใช่หรือไม่ใช่
  • B นำข้อมูลมา Link หาจุดเชื่อมโยง เช่น บินได้ ก่อเชื้อโรค ขนาดเล็กกว่าเล็บมือ กินไม่ได้
  • B อนุมาน เช่น น่าจะเป็น ยุง แมลงวัน
  • B ตัดสินใจ บอก A ว่า ตอบว่าแมลงวัน


Fast Thinking & Slow Thinking 

ถ้าเราถามเพื่อนว่า ให้ทายชื่อสัตว์ ที่มีพิษมา คนส่วนใหญ่จะบอกว่าเป็นงู เพราะเจอบ่อย และ venom ในหนัง ในละคร มักจะเป็นงู แต่ความเป็นจริง สัตว์ที่มีพิษ เป็นตะขาบ มด ก็ได้

สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ เพราะคนส่วนใหญ่ชอบใช้ Fast Thinking

Fast Thinking

  • อัตโนมัติ
  • สมองชอบ
  • มีเหตุผลน้อย
  • อาศัยประสบการณ์

Slow Thinking

  • ไม่อัตโนมัติ
  • ฝืนใจสมองตอนแรก เพราะต้องใช้พลังงานมาก
  • มีเหตุ มีผล

Mindsets of Critical Thinking

1. Start with Slow Thinking

Stop Fast Thinking

2. Breakdown the thoughts

สมมติ เราเป็นผู้ว่า กทม แล้วจะมี Disney Land มาเปิด เราก็จะต้อง break down องค์ประกอบ เช่น

  • infra
    • เดินทาง
      • ในจังหวัด
        • BTS
        • MRT
        • Taxi
        • Car
        • Motorcycle
        • รถเมล์
      • ระหว่างจังหวัด
        • Train
        • Bus
        • เครื่องบิน
      • ระหว่างประเทศ
        • เครื่องบิน
    • internet
    • น้ำไฟ
    • อาหาร
  • มลพิษ
    • เสียง
    • จราจร
    • ฝุ่น
  • แรงงาน
    • ทักษะบริการ
    • ทักษาภาษา
  • ท่องเที่ยว
    • มีห้างอื่นๆ เช่น พารากอน
    • ที่เที่ยวธรรมชาติจังหวัดใกล้เคียง

3. Hypothesis are necessary

จากข้างบน ให้ใส่ว่าแต่ละอันดีหรือไม่ดี และใส่สมมติฐานประกอบ เช่น

  • มลพิษ (ไม่ดี รถน่าจะติด คนเยอะ)
  • แรงงาน
    • ทักษะบริการ (ดี กทม มีคนมีทักษะเยอะ)
    • ทักษาภาษา (ดี กทม มีคนมีทักษะเยอะ)
  • infra
    • เดินทาง
      • ในจังหวัด
        • BTS (ไม่ดี รถไฟฟ้าไม่เพียงพอ)
        • MRT (ไม่ดี รถไฟฟ้าไม่เพียงพอ)
        • Taxi & Grab (ดี)

4. Data is a must

เอาข้อมูล Fact ต่างๆ มาสนับสนุน เช่น สถิติย้อนหลัง


Problem Solving

1. Problem

- situation appraisal: prioritize by impact & urgent คือการประเมินสถานการณ์ มีสิ่งใดเกิดขึ้นและต้องได้รับการแก้ไขบ้าง และจัดการกับสถานการ์นี้อย่างไร ให้เราทำการ priority (very high[VH], high[H], medium[M], low[L])

- define problem: ปัญหาที่เราจะแก้คืออะไร

- identify root cause:  สาเหตุของปัญหาคืออะไร

2. Solution

- implement solution: มั่นใจว่า solution นี้สามารถแก้ปัญหาที่ต้นเหตุได้ (correction & corrective action)

- preventive action: จะป้องกันการเกิดปัญหาอื่นๆ ที่คล้ายกันได้อย่างไร (preventive action)


ตัวอย่าง เคส COVID19

problems

  • เรียนออนไลน์ไม่มีปรระสิทธิภาพ
  • หน้ากากไม่พอ
  • ข่าวปลอม
  • วัคซีนไม่มีประสิทธิภาพ
  • วัคซีนไม่ทั่วถึง
  • เสียชีวิตสูงขึ้น
  • เตียงไม่พอ
  • etc

prioritize by impact & urgent

วัคซีนไม่มีประสิทธิภาพ (urgent:H, impact:VH) => เสียชีวิตสูงขึ้น (urgent:VH, impact:VH) => เตียงไม่พอ (urgent:VH, impact:VH)

วัคซีนไม่ทั่วถึง (urgent:H, impact:VH) => เสียชีวิตสูงขึ้น (urgent:VH, impact:VH) => เตียงไม่พอ (urgent:VH, impact:VH)

define problem

wh-questions
- what
- who
- where
- when
- why: ทำไมต้องแก้นะ
- goal (quantity): วัดผลได้ไหม ตัวเลขเป็นไง
- goal (quality): แก้แล้วเป็นไง


problem การเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้น
- what: การเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้น
- who: ผู้ป่วย 20-35
- where: เสียชีวิตที่บ้าน(หาเตียงไม่ได้)
- when: ตั้งแต่ประกาศทำ home isolation
- why: ต้องการลดจำนวนผู้เสียชีวิต
- goal (quality): ให้กลับไปเป็นค่าปกติ
- goal (quantity): ลดจาก 35% to 20%


identify root cause

ถาม ทำไม ไปเรื่อยๆ แล้วเลือกสาเหตุจริงๆ หลังจากนั้นลอง proof เช่น ลองแก้กับกลุ่มเล็กๆ ก่อน

คนไม่เข้าใจ home isolation ไม่รู้ว่า ต้องอาการแบบไหน ถึงค่อยมา รพ และไม่รู้จะหาเตียงว่างได้ยังไง

การแก้ปัญหา

1. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (correction)

- จะมีผลกระทบตามมา

2. แก้ที่สาเหตุ (corrective action)

- ย้อนมาต้นเหตุ ก่อนเกิดปัญหา

3. ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา (preventive action)

- ปัญหา อาจจะเกิดจากสาเหตุอื่นๆ ก็ได้


เคส ​covid แก้โดยการให้ความรู้ และประชาสัมพันธ์ เรื่อง home isolation


how to curiosity การเอ๊ะ

forced curiosity
  • เอ๊ะ จากการถามโต้งๆ,
  • e.g., why blue?
  • ตั้งเพื่อเก็บข้อมูล

spot the odd

  • เอ๊ะ จากสิ่งผิดปกติ ต้องสังเกตุ เปรียบเทียบ,
  • e.g., why blue, not red?
  • เป็นการตั้งคำถามที่ดี เพื่อพิสูจน์

is / is-not tool

is / is-not ต้องเป็นข้อเท็จจริงเท่านั้น ห้ามเป็นการคาดเดา

is คือสิ่งที่เป็นปัญหา

is-not คือสิ่งที่ไม่เป็นปัญหา



ตัวอย่าง เคสไฟไหม้ห้องครัว


ตัวอย่าง เคสกำไรบริษัทลดลงอย่างมีนัยยะ




ตรรกะวิบัติ (Fallacies)
  • Bandwagon: อ้างคนหมู่มากในการสร้างความชอบธรรม
  • Confirmation Bias: อ้างเฉพาะหลักฐานที่ตนสนใจแล้วตัดสินใจจากสิ่งที่ตนคิดว่าใช่โดยเพิกเฉยต่อหลักฐานอื่นๆ
  • Composition: อ้างว่าสิ่งหนึ่งเป็นแบบนั้น สิ่งๆ อื่นก็จะเป็นแบบนั้นหมด
  • Fallacy of The Single Cause: อ้างว่าเหตุการณ์หรือปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนเกิดจาก "สาเหตุ" หนึ่งข้อเท่านั้น
  • Slippery Slope: อ้างเหตุผลที่ไม่เกี่ยวกันแล้วนำมาสรุปแบบผิดๆ
  • Straw Man: อุปโลกน์จุดยืนของอีกฝ่ายทั้งที่อีกฝ่ายไม่ได้กล่าวถึง
  • Sunk Cost Fallacy: การตัดสินใจของเราขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในอดีตมากกว่าการตัดสินใจที่มีเหตุผลในปัจจุบัน

Critical Thinking Tips
  • ช่างสงสัย ถามให้เยอะ (เน้นปลายเปิด) เข้าใจให้มากขึ้น
  • แยกองค์ประกอบได้เยอะ จะให้วิเคราะห์ได้รอบด้าน
  • หาหลักฐานสนับสนุนการอนุมาน
  • หลักเลี่ยงตรรกะวิบัติ (Fallacy) เนื้อหาสรุป







10 กุมภาพันธ์ 2566

Play pinball game online

 


URL: https://alula.github.io/SpaceCadetPinball/

Control

  • space bar: shoot ball
  • z: left
  • /: right




Control:
  • arrow down: shoot ball
  • arrow left: left
  • arrow right: right


05 กุมภาพันธ์ 2566

เปิด 19 หุ้น จ่ายปันผล 30 ปี ติดต่อกัน

วิกฤติโควิด-19 ที่ผ่านมา ส่งผลให้ตลาดหุ้นมีความผันผวนและมีความเสี่ยงสูง ทำให้นักลงทุนเพิ่มความระมัดระวังในการลงทุนมากขึ้น และเพื่อลดความเสียหายของการลงทุน ดังนั้น หุ้นที่จ่ายปันผลสม่ำเสมอ นับเป็นเกราะป้องกันที่ดี

โดยนายฐิติเมธ โภคชัย ฝ่ายพัฒนาความรู้ผู้ลงทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ได้ระบุว่า ในช่วงตลาดหุ้นเป็นขาขึ้น (Bull Market) นักลงทุนมักจะลงทุนโดยมีเป้าหมายเป็นผลกำไรส่วนต่างจากราคาหุ้น (Capital Gain) แต่หากตลาดผันผวนหรือตลาดเป็นขาลง (Bear Market) อาจต้องปรับกลยุทธ์ด้วยการหาหุ้นที่มีความสามารถในการจ่ายปันผล (Dividend Stock) สม่ำเสมอ เพื่อลดความเสี่ยงให้กับพอร์ตลงทุน

หากเอ่ยถึงหุ้นที่จ่ายปันผลสม่ำเสมอ มักเป็นหุ้นที่มีการดำเนินธุรกิจ และขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ สังเกตได้จากยอดขายและกำไรสุทธิที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งไม่ว่าเศรษฐกิจจะอยู่ในภาวะตกต่ำ หรือมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น เช่น ปัญหาทางการเมือง วิกฤติเศรษฐกิจ ธุรกิจก็ยังสามารถขยายตัวต่อไปได้ อีกทั้งบริษัทเหล่านี้จะมีกระแสเงินสด (Cash Flow) จากการดำเนินงานเป็นบวก หมายความว่า บริษัทมีสภาพคล่องทางการเงินสูงถึงสูงมาก

ดังนั้น หากนักลงทุนค้นเจอบริษัทประเภทนี้ อย่าปล่อยให้หลุดมือ เพราะนั่นคือ ขุมทรัพย์ที่จะสร้างผลตอบแทนในรูปเงินปันผลให้นักลงทุนในระยะยาว โดยการดูประวัติการจ่ายปันผลย้อนหลังไป 5 - 10 ปี ถือว่าไว้วางใจได้แล้ว แต่ถ้ามีหุ้นที่มีประวัติการจ่ายปันผลตลอด 20 - 30 ปีไม่มีเว้น ยิ่งการันตีได้ว่า... ในอนาคตบริษัทน่าจะยังคงจ่ายปันผลอย่างต่อเนื่อง

โดยย้อนหลังไปตั้งแต่ปี 2535 ถึงปี 2562 พบว่า... มีบริษัทจดทะเบียน 20 บริษัทที่สามารถจ่ายปันผลได้ต่อเนื่องติดต่อกันอย่างยาวนานถึง 28 ปี แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีความสามารถในการดำเนินธุรกิจให้เติบโตสม่ำเสมอ เงินสดไม่ขาดมือ ซึ่งมักจะอยู่ในธุรกิจที่ไม่ค่อยหวือหวา โดยถ้าไม่เป็นผู้นำในธุรกิจ ก็เป็นธุรกิจที่มีความสามารถทางการแข่งขันสูง

ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าว ทำให้ "สำนักข่าวอีไฟแนนซ์ไทย" ได้ทำการสำรวจหากจ่ายปันผลต่อเนื่องติดต่อกันเป็น 30 ปี รวมปี 2563 และ 2564 ด้วย จะยังมีถึง 20 บริษัทตามที่ตลท.ได้ทำการสำรวจหรือไม่ กลับพบว่า มีเพียง 1 บริษัทเท่านั้นที่หลุดไป เหลือเพียง 19 หุ้น นอกจากนี้ จึงยังได้ลองนำข้อมูลมาเพิ่มเติมอีกว่า 19 หุ้นดังกล่าวนี้ จ่ายปันผลในช่วง 5 ปีล่าสุด หุ้นละเท่าไหร่กันบ้าง


แต่อย่างไรก็ตาม ผลตอบแทนในอดีต ไม่ได้การันตีในอนาคต ดังนั้นหากนักลงทุนสนใจจะต้องไปดูปัจจัยอื่นๆ ประกอบการตัดสินใจในการลงทุนด้วย



01 กุมภาพันธ์ 2566

“โรคซึมเศร้า” กับผู้สูงวัย...ลูกหลานใส่ใจดีขึ้นได้แน่นอน!




“โรคซึมเศร้า” กับผู้สูงวัย...ลูกหลานใส่ใจดีขึ้นได้แน่นอน!

“ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ” เป็นการเจ็บป่วยทางจิตใจของคนวัยสูงอายุ เกิดจากความรู้สึกผิดหวัง การสูญเสีย การนึกย้อนกลับไปในอดีตหรือสิ่งที่ขาดหายไปจากชีวิต รวมถึงความยากลำบากในการยอมรับความเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้ผู้สูงอายุไม่มีความสุข มีจิตใจที่เศร้าหมอง รู้สึกสิ้นหวัง จนไม่อยากมีชีวิตอยู่อีกต่อไป ลูกหลาน คนในครอบครัว หรือคนใกล้ชิด จึงต้องคอยหมั่นสังเกตภาวะนี้ในผู้สูงอายุ รวมถึงต้องพยายามทำความเข้าใจถึงปัจจัยที่ส่งผลให้รู้สึกเช่นนี้ จะได้รับมือกับภาวะนี้ได้



ทำไม? ผู้สูงอายุถึงมีโอกาสที่จะเป็นโรคซึมเศร้า เรามาทำความเข้าใจไปพร้อมๆ กันเลยครับ

เมื่อก่อนเคยทำงานทุกวัน แต่ปัจจุบันต้องมาอยู่เฉยๆ

เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่เคยชินกับการทำงานมาตลอด บางคนก็อาจเคยมีตำแหน่งหน้าที่การงานใหญ่โต หลายคนอาจทำงานหนักมาทั้งชีวิต พอเกษียณมาชีวิตก็เปลี่ยนสถานะมาเป็นว่างงาน จึงไม่ชินที่จะต้องมาอยู่บ้านเฉยๆ และไม่ได้ทำในสิ่งที่เคยทำมาตลอดนั่นเอง


เหงาที่ต้องอยู่บ้านคนเดียว

พอเกษียณอายุแล้วก็ไม่ได้ออกไปทำงาน กลายเป็นต้องมาใช้ชีวิตอยู่บ้านคนเดียวทั้งวัน เพราะลูกหลานออกไปทำงานหรือไปเรียนหนังสือกันหมด แน่นอนว่าการอยู่บ้านในวันธรรมดาเป็นสิ่งที่ผู้สูงอายุไม่คุ้นเคย เพราะจะต้องพบกับความเงียบเหงา อ้างว้าง จนอาจทำให้นี้รู้สึกว่าตัวเองเป็นคนไม่มีคุณค่าหรือไม่มีประโยชน์ได้


ความชรามาเยือน

เมื่ออายุมากขึ้น แน่นอนว่าร่างกายก็จะไม่เหมือนสมัยตอนที่ยังเป็นหนุ่มสาว ซึ่งความเปลี่ยนแปลงทางร่างกายถือว่าเป็นสิ่งที่ชัดเจนที่สุดของคนวัยนี้ เช่น ความจำที่แย่ลง หูตึง สายตามองไม่ค่อยเห็น มีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวร่างกาย ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลงและพึ่งพาคนอื่นมากขึ้น จนกลายเป็นความรู้สึกที่ต้องโทษตัวเอง เครียด หงุดหงิด รวมถึงเกิดภาวะซึมเศร้าจากความเสื่อมของสมองและระดับฮอร์โมนในร่างกายไม่สมดุลเหมือนเดิม


บทบาทความสำคัญลดลง

พอเกษียณอายุแล้ว จากเคยทำงานก็ออกมานั่งๆนอนๆอยู่บ้านโดยไม่มีหน้าที่รับผิดชอบอะไร ก็อาจทำให้รู้สึกว่าบทบาทความสำคัญของตัวเองลดลง เพราะเมื่อก่อนเคยเป็นเสาหลักของครอบครัว จากที่เคยช่วยเหลือตัวเองได้ดีกลับต้องมาพึ่งพาคนอื่น เงินที่เคยหาใช้ได้เองก็ต้องรอจากลูกหลานแทน ซึ่งก็อาจทำให้รู้สึกเคว้งคว้างสิ้นหวังจนคิดว่าตัวเองไร้ค่า ไม่มีประโยชน์ เป็นภาระให้คนอื่น และยิ่งถ้าคนในครอบครัวไม่สนใจ ไม่มีสังคม ก็อาจจะยิ่งแย่หนักกว่าเดิม


การพลัดพรากสูญเสีย

ยิ่งผู้สูงอายุคนใดที่มีอายุยืน ก็จะยิ่งมีโอกาสได้เห็นคนรอบข้างจากไปทีละคน ตั้งแต่ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง คู่ชีวิต เพื่อนฝูง นอกจากนี้ยังต้องรับมือกับการที่เห็นลูกหลานของตัวเองจากไปก่อนวัยอันควรอีกต่างหาก ส่งผลให้ต้องใช้ชีวิตอยู่เพียงลำพัง ทำให้ขาดที่พึ่งทางใจ


ปัจจัยที่กล่าวมาทั้งหมดนี้คือความเสี่ยงที่อาจทำเกิดโรคซึมเศร้ากับผู้สูงอายุ ซึ่งคนในครอบครัวหรือผู้ใกล้ชิดต้องคอยสังเกตและดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอด้วยการ

* ดูแลเรื่องอาหารอย่างใกล้ชิดโดยให้ผู้สูงอายุทานอาหารอ่อนๆ และย่อยง่าย เน้นอาหารกลุ่มแป้งและน้ำตาล เพื่อเพิ่มพลังงาน แต่ก็ต้องคำนึงถึงปริมาณที่เหมาะสมด้วย

* หากิจกรรมทำร่วมกับผู้สูงอายุเป็นการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีการตอบสนอง เพราะการพูดคุยของคนในครอบครัว รวมถึงการทำกิจกรรมร่วมกัน สามารถช่วยลดความเบื่อหน่ายให้กับผู้สูงอายุได้

* สร้างความผ่อนคลาย ช่วยเรื่องการนอนหลับผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามักเจอปัญหานอนไม่หลับ อาจใช้วิธีเปิดเพลงที่มีจังหวะช้าๆ นุ่มนวล เพื่อสร้างความผ่อนคลาย การเลือกเตียงนอนก็มีความสำคัญเช่นกัน เพราะจะช่วยให้รู้สึกสบายตัว และนอนหลับได้ง่ายขึ้น

* พยายามเข้าใจผู้สูงอายุให้มากๆพูดคุยถึงปัญหาที่ผู้สูงอายุกำลังเผชิญอยู่ คอยรับฟัง ให้กำลังใจ และแบ่งปันเรื่องราวต่างๆ เป็นการทำให้ผู้สูงอายุเกิดความรู้สึกว่าตัวเองไม่ได้อยู่คนเดียว นอกจากนี้ยังเป็นการช่วยลดความตึงเครียดให้กับผู้สูงอายุอีกด้วย

เพียงเท่านี้ก็สามารถช่วยให้ผู้สูงอายุห่างไกลจากโรคซึมเศร้า กลับมามีสุขภาพกายและใจที่ดีขึ้นได้แล้วแต่ถ้าลองทำตามนี้แล้วอาการยังไม่ดีขึ้น แนะนำให้พาผู้สูงอายุไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม