Pages

Pages

20 เมษายน 2566

18 เมษายน 2566

รีวิว Philippineairlines พักต่อเครื่องไปนาริตะ(Narita) ญี่ปุ่น ที่สนามบินมะนิลา(Manila) ฟิลิปปินส์

รีวิว Philippineairlines พักต่อเครื่องไปนาริตะ(Narita) ญี่ปุ่น ที่สนามบินมะนิลา(Manila) ฟิลิปปินส์

  • กระเป๋า สัมภาระ ไปรอรับที่สนามบินปลายทาง (Narita) ที่เดียวเลย  
  • ไม่ต้องเสียค่าผ่าน ตม ที่สนามบินมะนิลา(Manila) ฟิลิปปินส์
  • สนามบินมะนิลา(Manila) ฟิลิปปินส์ ถือว่าสะอาดมากทั้งห้องน้ำ และเก้าอี้นั่ง
  • มีร้านอาหารหลากหลาย ราคาไม่แพง ไม่เกิน 500 Philippine peso ต่อ 1 มื้อ (น้ำ+กาแฟ+อาหาร) ควรเตรียมเงิน Philippine peso ไปให้พอ
  • มีจุดชาร์จโทรศัพท์ ฟรี WIFI และมีโทรทัศน์ให้ดู



บรรยากาศตรงที่ให้ผู้โดยสารนั่งรอเพื่อรอเปลี่ยนเครื่อง ภายในสนามบินมะนิลา(Manila) ฟิลิปปินส์








ร้านค้าและร้านขายอาหารค่อนข้างหลากหลาย และราคาไม่แพง

















15 เมษายน 2566

Learning How to Learn (เรียนรู้วิธีเรียนรู้)

 


สรุป ความรู้ที่ได้จากการอบรม Learning How to Learn (เรียนรู้วิธีเรียนรู้) จาก Learning Hub

โหมดการทำงานของสมอง

สมองคนเรามี 2 โหมด คือ โหมดจดจ่อ และโหมดผ่อนคลาย

1. โหมดจดจ่อ คือ ตอนที่เรากำลังจดจ่อทำงาน ซึ่งใช้พลังงานเยอะ ถ้าใช้นานๆ จะทำให้เราเหนื่อย

2. โหมดผ่อนคลาย ควรใช้สลับไปมากับโหมดจดจ่อ โดย 8 กิจกรรมหลักที่สมองชอบสำหรับโหมดผ่อนคลายคือ

  • เล่นกีฬา
  • วาดภาพระบายสี
  • แช่หรืออาบน้ำ
  • วิ่ง เดิน ว่ายน้ำ
  • นั่งรถเล่น
  • ฟังเพลง
  • ทำสมาธิ สวดมนต์
  • นอน(ดีที่สุด)


ความจำ 2 ระบบ

1. ระยะสั้น จำได้แป๊ปเดียว ผ่านไปเดี๋ยวก็ลืม

2. ระยะยาว คือ สิ่งที่ควรฝึกเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ จะได้เกิดทักษะใหม่ๆ

  • การอ่านหนังสือ 20 รอบใน 1 วัน ได้ผลดีไม่เท่าการอ่านหนังสือวันละ 1 รอบ เป็นเวลา 20 วัน
  • การทำต่อเนื่องทีละนิดระยะเวลานาน จะทำให้จำระยะยาวได้ดีกว่าทำทีละเยอะๆ (อย่าไปอัดกัน)
  • สมมติอยากเรียนรู้เรื่องใหม่ๆ ยากๆ ให้ใช้คำอุปมาอุปไมย เพื่อไม่ให้สมอง บอกว่ามันยากไป


กลยุทธ์การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

  • นอนกระตุ้นเซลล์สมอง เคลียร์พื้นที่ความทรงจำ
  • ออกกำลังกาย ช่วยจำได้นานขึ้น 
  • ใช้สมองโหมดจดจ่อ สลับกับโหมดผ่อนคลาย
  • ทำความเข้าใจและฝึกแบบทดสอบ ได้ผลกว่าการอ่านอย่างเดียว
  • จดจ่อที่กระบวนการ ช่วยให้ผ่อนคลาย หาวิธีเหมาะกับตนเอง
  • เรียนแบบเว้นระยะ สร้างความทรงจำระยะยาว (อย่าไปอัดกัน)
  • เรียนสิ่งที่ยากขึ้น (สมองอัพเกรด)
  • แรงจูงใจในการเรียน เปลี่ยนตัวเองให้ดีขึ้น


7 หลุมพรางที่ควรเลี่ยงในการเรียนรู้

  • ยัดเยียดข้อมูล
  • นอนพักผ่อนไม่พอ
  • เน้นข้อความหรือขีดเส้นใต้
  • สิ่งที่ทำให้วอกแวก เช่น Facebook, LINE
  • อ่านแบบเรื่อยๆ ซ้ำแล้วซ้ำอีก
  • อย่าปล่อยปัญหาค้างคาใจ
  • เอาแต่คุยกันแทนที่จะชวนกันเรียน


หาสไตล์การเรียนรู้ที่ใช่สำหรับคุณ (VARK)

เราอาจจะมีสไตล์การเรียนรู้มากกว่า 1 อย่าง ก็ได้ 







Second Brain




อาหารบำรุงสมอง

  • ไข่
  • บลูเบอร์รี่
  • ขมิ้น
  • อะโวคาโด
  • บร็อคโคลี่
  • แซลมอน
  • ถั่ววอลนัท
  • น้ำมันมะพร้าว
  • ดาร์คช็อกโกแลต

สมองมนุษย์มีน้ำ 73% หลังตื่นนอนควรดื่มน้ำ 1 แก้วเพื่อป้องกัน dehydration

เวลาที่ดีที่สุดในการปลูกต้นไม้คือเมื่อ 20 ปีที่แล้ว เวลาที่ดีที่สุดรองลงมาคือ ตอนนี้ (จากสุภาษิตจีน)

07 เมษายน 2566

Connection outbound of Kubernetes Pod is terminated after SIGTERM SIGINT Graceful Shutdown


 If you are facing a problem like

  • Adding terminationGracePeriodSecond to your Kubernetes Deployment to handle graceful shutdown, but your Kubernetes Pod cannot connect Database, Redis, Queue to do some clean up
  • Your Kubernetes Pod is terminated immediately (before terminationGracePeriodSecond period)

The root cause maybe Istio sidecar is terminated before the Kubernetes Pod 


Solution

For example, you have terminationGracePeriodSeconds: 315

You need to add terminationDrainDuration to your Kubernetes Deployment also, e.g.,

annotations:
proxy.istio.io/config: |
terminationDrainDuration: 315s


Reference

  • How can I prevent Istio sidecar from shutting down before my service has finished gracefully terminating? Link